ขั้นวิ่งของค่าจ้าง เป็นภาษาพูดค่ะ…ความจริงแล้วเป็นขั้นของค่าจ้างในแต่ละขั้น เช่น zero.5 ขั้น, 1 ขั้น, 1.5 ขั้น และ 2 ขั้น (การได้ขั้นดังกล่าว ขึ้นอยู่การพิจารณาความดีความชอบ + ผลการปฏิบัติงานของบุคคลคนนั้นค่ะ) โดยในแต่ละกลุ่มงานจะมีขั้นของแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกันค่ะ…โดยแต่ละกลุ่มจะมี เขาเรียกว่า “ขั้นต่ำ – ขั้นสูง” (ขั้นสูง คือ เพดานสูงสุดของค่าจ้างในกลุ่มงานนั้นค่ะ)…คือ ค่าจ้างของคุณในกลุ่มงานนี้จะไม่สูงไปกว่านี้ค่ะ เรียกว่า เต็มขั้นค่ะ… คุณต้องศึกษาดูที่หน้าที่ของตำแหน่งผู้ดูแสสถานที่ด้วยนะค่ะว่ามีหน้าที่อย่างไร แล้วคุณปัจจุบันทำงานในลักษณะไหน ทำหรือไม่ ถ้าไม่แล้วหัวหน้าหน่วยงานสั่งให้ทำในตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. หรือไม่ ถ้าเป็นลักษณะงานเหมือนเดิมคงไม่ได้ค่ะ แต่ถ้าภาระงานใช่ตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. ก็สามารถทำได้ แต่ทั้งนี้ให้ศึกษาหนังสือสำนักงาน ก.พ. ด่วนที่สุด ที่ นร 1008/ว 14 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2553 ข้อ 6,7 ก่อนนะค่ะหรือจากไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ…
การโอนย้าย ขึ้นอยู่กับส่วนราชการค่ะว่าจะให้โอนย้ายได้หรือไม่…เพราะเห็นบางส่วนราชการก็ให้โอนย้ายได้ บางส่วนราชการก็ไม่ให้โอนย้ายค่ะ เหตุอาจมาจากการเสียอัตรากำลังไงค่ะ…ให้คุณปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการดูนะค่ะ…เพราะทางกรมบัญชีกลางจะมีหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องค่าจ้างค่ะ… ต้องเริ่มต้นเงินเดือนของการเป็นครูผู้ช่วยค่ะ เงินเดือนไม่สามารถนำมารวมกันได้ค่ะ เพราะเป็นบุคลากรภาครัฐคนละประเภทกัน ภาระงานก็แตกต่างกันค่ะ… จากที่เขียนบล็อกมา ทำให้ทราบว่า ส่วนราชการไทย ควรพัฒนาด้านความรู้ให้กับหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ อย่างแท้จริงในการให้ความสำคัญ สิทธิประโยชน์ของกลุ่มบุคลากรในองค์กรนั้น ๆ อย่างมากจริง ๆ ค่ะ… ในกรณีที่คุณแจ้งมานั้น อาจเป็นการเปลี่ยนเพียงระดับกระมังค่ะ เช่น ช่างไม้ 1 เป็นช่างไม้ 2 ช่างไม้ three ช่างไม้ four เหตุที่ได้ น่าจะลูกจ้างประจำท่านนั้น ไม่ได้เปลี่ยนตำแหน่งเช่นอย่างคุณ ส่วนราชการจึงทำให้ค่ะ… ตำแหน่งพนักงานขับรถยนต์ อยู่ในระหัส 2913 ค่ะ เราควรทำบัญชีคุมลูกจ้างประจำไว้ด้วยนะค่ะ…ว่าปัจจุบันเขาอยู่ตำแหน่งใด ระดับใด กลุ่มบัญชีค่าจ้างที่ 1 หรือ 1-2 หรือ three ค่ะ เพราะจะง่ายต่อการที่เราไม่ทำผิดพลาดในภายหลังค่ะ… ให้ดูว่า ลูกจ้างประจำ อยู่ในระดับชั้นใดนะค่ะ ถ้าระดับ 1 จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1 แต่ถ้าอยู่ระดับ 2 จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1-2 ซึ่งค่าจ้างเมื่อเต็มระดับ 1 ก็สามารถไหลไปที่ 2 ได้ค่ะ กรณีหลังไม่ต้องประเมินค่ะ ให้ดูที่บัญชีเงินเดือน + ระดับของลูกจ้างประจำเดิมด้วยนะค่ะ…
ผู้เขียนได้เขียนเรื่อง “การคิดเชิงบวก” ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อคิดในการดำเนินชีวิต + การทำงาน อาจมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน…ศึกษารายละเอียดได้ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… ซึ่งคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในตำแหน่งช่างไม้ ระดับ three มีจำนวน 5 ข้อ ซึ่งแต่ละข้อใช้คำว่า หรือ คั่นในระหว่างข้อ ก็แสดงว่าถ้าเรามีคุณสมบัติเข้าเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ก็สามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้ค่ะ…แต่อย่าลืม ต้องมีคำสั่งที่เราได้ปฏิบัติเกี่ยวกับตำแหน่งของช่างไม้ นะค่ะ… ขอบคุณค่ะ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนอยู่แล้วค่ะ ในเมื่อรู้ ก็ต้องการให้ทุกคน ได้รู้เหมือน ๆ กับที่เรารู้ เพราะปัจจุบันเป็นโลกของการจัดการความรู้จริง ๆ อยู่ที่ใครจะอุทิศหรือสละเวลาให้กับประเทศชาติได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับจิตใต้สำนึกของการเป็นข้าราชการจริง ๆ ค่ะ ผู้เขียนเพียงอยากเห็นการพัฒนาของประเทศเป็นไปอย่างจริงจัง การพัฒนานั้น ต้องมาจาก “คน” ก่อน ในเมื่อคนมีการพัฒนาแล้ว ต่อ ๆ ไป ก็จะพัฒนาตามกันมาเองค่ะ… การที่จะมีสิทธิได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่ลูกจ้างประจำมีสิทธิได้รับเครื่องราช ฯ ศึกษาในระเบียบดูนะคะ…คลิกที่สารบัญ(บน) ด้านขวามือ ของคุณ จะปรากฎ บล็อกที่ผู้เขียนได้นำมาลงให้หลายเรื่องค่ะ… การที่จะเปลี่ยนตำแหน่งนั้น ขึ้นอยู่กับงานที่คุณได้ปฏิบัติ เช่น ถ้าเปลี่ยนเป็นพนักงานพิมพ์นั้น คุณก็ต้องพิมพ์คอมพิวเตอร์ได้ อีกอย่างก็ต้องไปดูที่คุณสมบัติของพนักงานพิมพ์ในแต่ละระดับว่าจะเปลี่ยนได้หรือไม่ค่ะ…เพราะเมื่อเปลี่ยนตำแหน่งไปแล้วจะมีผลตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานไงค่ะ ถ้าพิมพ์ไม่ได้ก็ไม่ควรเปลี่ยน แต่ถ้าพิมพ์ได้ก็จะเป็นไปตามคุณสมบัติของตำแหน่งค่ะ…
สำหรับลูกจ้างประจำนั้น การจ้างของรัฐก็ต้องดูในเรื่องการบรรจุในครั้งแรกค่ะว่า รัฐจ้างมาเป็นลูกจ้างประจำด้วยวุฒิการศึกษาใด ต่อมาเมื่อเรียนจบนั้น ก็ไม่ใช่หมายความว่า สามารถนำวุฒินั้นมาปรับให้ขั้นค่าจ้างสูงขึ้นได้เลย…อาจมีบางตำแหน่งที่ต้องใช้วุฒิที่สูงขึ้นได้ แต่บางตำแหน่งก็ไม่ใช่ต้องใช้วูมิสูงขึ้นนั้นหรอกค่ะ… ให้ดูองค์ประกอบในตำแหน่งของพนักงานพิมพ์ ชั้น ด้วยนะค่ะว่า…ถ้าเราเปลี่ยนเป็นชั้น three แล้ว ต้องเป็นพนักงานพิมพ์ ชั้น 1 ก่อนหรือเปล่า แล้วเราอายุมากหรือไม่ ถ้ายังอายุไม่มาก ควรเปลี่ยนค่ะ เพราะจะเป็นการขยายเพดาน แต่เราต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง คือ พิมพ์คอมฯ เป็นด้วยนะค่ะ…พัฒนาตนเองให้หัวหน้าส่วนราชการเห็นว่าเรามีการพัฒนาตนเอง สามารถทำงานที่ยากขึ้นได้ มีน้ำใจต่อเพื่อน ต่อหัวหน้างาน ทำงานได้ไม่แพ้ข้าราชการ… อีกอย่างการทำงานในปัจจุบัน ควรลดเรื่อง “อำนาจ” ได้แล้ว ควรทำงานที่เป็นไปตามภาควิชาการจริง ๆ คือ “การทำงานเป็นทีม”…การทำงานตามหน้าที่ ตามตำแหน่งที่ได้รับผิดชอบ ฯลฯ ข้อสำคัญ การทำงานภาคราชการ ต้องไม่เลือกปฏิบัติที่จะทำ ยิ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของคนในสังกัด ยิ่งต้องดูแลให้ทั่วถึง ไม่ควรเลือกปฏิบัติ เพราะเขาทำงาน เขาก็ต้องต้องการขวัญ กำลังใจ + ความสุขในการทำงานกันทุกคน อย่าลืมว่า!!!
ตอนนี้ผู้เขียนก็ให้งานราชภัฏวิจัยเรียบร้อยก่อนค่ะ จะตรวจสอบดูลูกจ้างภายใน มรพส. บ้างว่ามีท่านใดที่จะพอปรับเปลี่ยนตำแหน่งได้อีก…เพราะช่วงนี้งานเยอะจริง ๆ ค่ะ… เพราะบางครั้ง มีลูกจ้างฯ ไปถาม แต่ก็ยังบอกไม่ได้ ไม่ทราบ ไม่รู้…ถ้าไม่ทราบก็ต้องศึกษา หาความรู้จากส่วนราชการอื่น…ไม่ใช่บอกปัด แล้วไม่ตอบทำให้ลูกจ้างเกิดความงง และจะกลายเป็นผลเสียในอนาคตได้ค่ะ… ลองปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + จนท.ที่รับผิดชอบดูนะค่ะ…เพราะสมัยก่อน ทางส่วนกลาง หรือ กรม จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกให้กับคุณไงค่ะ… แจ้งให้ฟังเกี่ยวกับกรณีของคุณเองค่ะ…เพราะตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชีค่าจ้างจะไปได้สูงกว่าพนักงานพิมพ์ค่ะ… ท่านสามารถศึกษารายละเอียด เรื่อง “การแต่งตั้งลูกจ้างประจำไปดำรงตำแหน่งใหม่” ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0428/ว 83 ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2553 ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…
2.จะได้ปรับตำแหน่งเหมือนกับกระทรวงอื่นๆหรือเปล่าถ้าปรับแล้วจะอยู่ในกลุ่มใดครับ3. คนไทยไม่น้อยหน้าสิ้นปีนี้ทะลุ 5 ล้านคน โลกได้เดินหน้าเข้าสู่ยุค 5 จี อย่างเต็มตัวแล้ว เมื่อผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ หรือ โอปอเรเตอร์ ทั่วโลก… “ครม.”ไฟเขียวเพิ่มเงินเดือน “ภารโรง-ลูกจ้าง”สังกัดสพฐ.
ให้ดูระเบียบดี ๆ นะค่ะ ว่าใช้ในกรณี นับเวลาการปฏิบัติงานทวีคูณ ในช่วงเวลาใด ใช้ในตอนเกษียณหรือไม่ เพราะการนับเวลาปกติ ส่วนมากเขาจะไม่ทำกัน จะนับให้ก็ต่อเมื่อเกษียณไงค่ะ…ลองศึกษาดูนะค่ะ เพราะผู้เขียนยังไม่ได้ศึกษาในเรื่องนี้ ช่วงนี้งานมากค่ะ… อย่างน้อยผู้ที่ทำงานด้านงานการเจ้าหน้าที่ หรือหัวหน้าส่วนราชการ ต้องสนใจในเรื่องของคนในองค์กรทุกคนให้มาก ๆ กว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบันค่ะ…ไม่ใช่ปล่อยปะละเลย จะทำให้เกิดปัญหาที่แคลงใจต่อไปในระยะยาวได้ค่ะ… คุณตำแหน่งพนักงานพิมพ์ ระดับ 3 เมื่อเทียบกลุ่มค่าจ้างอยู่ที่ ถ้าปัจจุบันค่าจ้างของคุณยังไม่เต็มเพดานขั้นสูงของระดับ 1 คุณก็รับขั้นค่าจ้างระดับ 1 ไปจนเต็มเพดาน กลุ่มที่ 1 แล้ว จึงจะปรับไปเป็น ขั้นค่าจ้างในกลุ่มที่ 2 ค่ะ… ให้ดูที่คำสั่งที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ ถ้ามีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งพนักงานห้องสมุดได้ ก็ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ ถ้าสามารถเปลี่ยนได้ก็ให้ดำเนินการได้ค่ะ… เป็นการขยายกลุ่มบัญชีค่าจ้างให้ แต่เงินค่าจ้างก็ไปรับที่กลุ่ม 1 จนเต็มเพดานค่ะ ถึงจะปรับเปลี่ยนไปที่กลุ่ม 2 เพราะผู้เขียนได้สอบถามที่กรมบัญชีกลางให้แล้วค่ะ…
ถ้าสงสัยก็สอบถามมาใหม่นะค่ะ…แต่ต้องบอกรายละเอียดให้ชัดเจนมากขึ้นค่ะ พี่ถึงจะตอบได้ค่ะ… บัญชีค่าจ้างแบบใหม่ (1 เม.ย. 2553) มีผลบังคับใช้แล้วค่ะ…ศึกษาได้ตามบล็อกดังกล่าวที่แจ้งไว้ค่ะ…ค่อย ๆ ศึกษาไปนะค่ะ… ผู้เขียนได้ตรวจสอบใน Internet จากมหาวิทยาลัยแล้วนะค่ะ ก็สามารถ obtain File ได้นี่ค่ะ…อาจเป็นเพราะ net ของคุณหรือเปล่าค่ะ…ลองดูอีกครั้งนะค่ะ… เป็นกรณีพิเศษ เนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปี ของสำนักงานคณะกรรมการ สกสค. “ครูอัตราจ้าง” รับเงินเดือน 3,800 บาท รวมถึง “ลูกจ้างสพฐ.”
• สำหรับเรื่องสิทธิประโยชน์ ค่ารักษาพยาบาล ค่าเช่าบ้าน ฯลฯ อยู่ในระหว่างที่กระทรวงการคลังตรวจสอบข้อมูลค่ะ… เรียนสอบถามว่าเงินเดือน เม.ย.fifty four นี้ ลูกจ้างประจำได้รับ 5% และ thirteen % เหมือนข้าราชการหรือไม่ เพราะที่อ่านเจอไม่เห็นมีพูดถึงลูกจ้างประจำเลย มีแต่ครูเท่านั้น….. ในระบบการบริหารงานบุคคล สำหรับการเสมอภาคนั้น เป็นไปไม่ได้หรอกค่ะ…เพราะขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ค่างานค่ะ…
ปัจจุบันเงินค่าจ้างจะอยู่ที่ ระดับ 2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้วไม่สามารถไหลไปที่ระดับ three ได้หรอกค่ะ เพราะปัจจุบันคุณอยู่ที่กลุ่มค่าจ้างกลุ่มที่ 1-2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้ว อยู่ที่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ดูให้คุณ อาจจะดำเนินการสอบเพื่อเลื่อนระดับให้กับคุณก็ได้ ข้อสอบที่ใช้สอบอาจเป็นลักษณะของ กฎหมาย ระเบียบที่คุณปฏิบัติเกี่ยวกับการเงินก็ได้ไงค่ะ… ระดับ 3 ในกลุ่มค่าจ้างจะอยู่ในกลุ่มที่ แล้วค่ะ ไม่ต้องทำอะไรทั้งนั้น เมื่อค่าจ้างเต็มขั้นแล้ว เจ้าหน้าที่จะปรับให้คุณโดยเทียบค่าจ้างที่สูงกว่า 18,190 บาท โดยสามารถเลื่อนเป็นค่าจ้างที่สูงขึ้น ได้เลยค่ะ ถ้าจำไม่ผิด 18,380 บาท ค่ะ เพราะที่ ม. ก็ดำเนินการไปให้กับลูกจ้างแล้วค่ะ…เป็นเพราะกรมบัญชีกลาง กำหนดให้แล้วนี่ค่ะ ว่าตำแหน่งพนักงานพิมพ์ อยู่ในกลุ่มการรับค่าจ้างที่กลุ่ม 1-2 ค่ะ (ไม่ต้องทำอะไรแล้วค่ะ) งานการเจ้าหน้าที่สามารถดำเนินการได้เลยค่ะ…จนกว่าจะไปตันที่ค่าจ้างขั้นสูงของกลุ่มที่ 2 ค่อยดำเนินการเปลี่ยนตำแหน่งให้ใหม่ค่ะ…
ขอถามเป็นความรู้นะครับ ว่านักการภารโรงแบบสัญญาจ้างชั่วคราว จะรับเงินเดือนจากใคร… ลองสอบถามไปที่ สพม.34 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ดูสิค่ะ ว่าเพราะเหตุดใด? ที่ยังไม่ได้รับ…เพราะเลยมา four เดือนแล้วนะค่ะ อย่างช้าก็ไม่น่าเกิน 2 เดือน… ถ้าตัน คงต้องปรับเปลี่ยนเป็นตำแหน่งอื่นหรือเปล่า แต่ก็ต้องเป็นงานที่เราได้ปฏิบัติอยู่ด้วยนะคะ… ถ้าคุณสมบัติใหม่ไม่มีลูกน้องมาเกี่ยวข้องก็ไม่น่าจะต้องนำมาเป็นเกณฑ์นี่ค่ะ แต่ให้สอบถามเพื่อความถูกต้องอีกครั้งค่ะ… สงกรานต์ว่าจะไปทำบุญให้แม่ที่วัดค่ะ…แล้วก็มาเก็บกวาดบ้านค่ะ…
คุณสมบัติให้ใช้ข้อใดข้อหนึ่งค่ะ เพราะมีคำว่าหรือ… ต้องคอยดูระเบียบที่ออกมาใช้บังคับให้ปฏิบัติก็แล้วกันนะค่ะ… ถ้าคุณสามารถปรับตำแหน่งได้ ทำให้คุณเสียสิทธิ์ไปตั้งแต่แรกค่ะ… ได้ค่ะ ขึ้นอยู่กับ สพป.หรือ สพม.ค่ะ แบบฟอร์มการย้ายลองศึกษาตามเอกสารที่ไฟล์ด้านล่างนี้นะคะ… ทั้งนี้ ให้ปรึกษากับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + หัวหน้าส่วนราชการด้วยค่ะ…
ถ้าแม่คุณเข้าข่ายในคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในข้างต้น ก็สามารถปรับเพิ่มได้ แต่ถ้าปรับเป็นระดับ 2 แล้ว ฐานค่าจ้าง จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1-2 แต่แม่ยังต้องรับค่าจ้างในกลุ่ม 1 ก่อนจนเต็มเพดาน ถึงจะเปลี่ยนมาฐานค่าจ้างกลุ่มที่ 2 ได้ค่ะ… การเลื่อนขั้นค่าจ้างของลูกจ้างประจำ ถ้าใช้ระเบียบเดิมที่ไม่มี % เช่น ข้าราชการแล้วละก็ ก็ยังคิดเกณฑ์โควต้า 15 % มากำหนดในการคิด 2 ขั้นอยู่ค่ะ… ที่ให้สอบถามไปยังกรมบัญชีกลาง เพื่อให้ได้คำตอบที่ชัดเจนค่ะ เพราะกรมบัญชีกลางจะตรวจสอบในเรื่องของการปรับเปลี่ยนตำแหน่งค่ะ ไม่อยากให้ทำแล้วเสียเวลาต้องมานั่งแก้ไขคำสั่งว่าไม่ได้ไงค่ะ…ทางกรมบัญชีกลางคงมีเหตุผลนะคะ อย่าเพิ่งด่วนสรุปความโดยที่ยังไม่ได้ฟังเหตุผลด้วยค่ะ…
เป็นเพราะรัฐปรับปรุงเปลี่ยนแปลงความก้าวหน้า มั่นคงและเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบันค่ะ…แต่ลูกจ้างประจำก็ต้องมีการพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นด้วยนะค่ะ…เพื่ออนาคตและความมั่นคงในอาชีพของท่านด้วยค่ะ… เราใช้คุกกี้ในเว็บไซต์ของเราเพื่อให้คุณได้รับประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องมากที่สุดโดยจดจำการตั้งค่าของคุณและเข้าชมซ้ำ การคลิก “ยอมรับทั้งหมด” แสดงว่าคุณยินยอมให้ใช้คุกกี้ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม คุณสามารถไปที่ “การตั้งค่าคุกกี้” เพื่อให้คำยินยอมที่มีการควบคุมได้. ไม่รู้ว่าของสาธารณสุข ทำกรอบไว้หรือค่ะ…เพราะของ ม. ก็ไม่มีกรอบกำหนดไว้แบบที่คุณบอกนะคะ สามารถโตได้จนกว่าความสามารถของลูกจ้าง ฯ คนนั้นจะไม่สามารถทำได้เองไงค่ะ… สำหรับผู้เขียนจะทำได้ก็อีกประมาณ eleven ปี ค่ะ เพราะถ้าเกษียณไปแล้ว ก็คงให้เด็ก ๆ รุ่นใหม่ มาทำแทนแล้วละค่ะ…
ก่อนอื่น ต้องขอทราบว่า คุณคือ ลูกจ้างประจำ ที่ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ ถ้าใช่ สงสัยเรื่องเงินเดือนของคุณนะค่ะว่า ทำไมได้รับเพียง 4,800 บาท เพราะในระเบียบเขาจะกำหนดขั้นต่ำไว้ที่ 5,080 หรือไงนี่แหล่ะค่ะ ให้ดูตามไฟล์ด้านล่าง ลองคลิกดูนะค่ะ รหัส พนักงานบริการ คือ 1117 ค่ะ เลื่อน curser ลงไปที่รหัสดังกล่าวนะค่ะ ทั้ง 2 ไฟล์ จะทำให้ทราบเรื่องขั้นค่าจ้างขั้นต่ำ – ขั้นสูง และทราบหน้าที่ที่เราต้องรับผิดชอบค่ะ ว่าต้องทำอะไรบ้างกับตำแหน่งที่เราเป็นอยู่ค่ะ…ถ้าสงสัยก็ถามมาใหม่นะค่ะ… ไม่ทราบว่าลูกจ้างประจำของสังกัดกระทรวงกลาโหม ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช้ ก็น่าจะปรับเปลี่ยนเหมือนเช่นที่ผู้เขียนบอกค่ะ…แต่ถ้าไม่ใช่ต้องสอบถามที่หัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ…เพราะต้องเข้าใจว่า บางครั้งกฎหมายราชการมีมากมายเหลือเกินค่ะ เกินว่าที่ผู้เขียนจะทราบหมดทุกเรื่องค่ะ…
เพราะจะทำให้คนที่ไม่รู้ ไม่ทราบ ได้รับรู้ รับทราบและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องค่ะ… ต้องขอของคุณสำหรับคำอวยพรนะค่ะ…เช่นเดียวกันค่ะ… ค่ะ…งานสารบรรณ เห็นว่าง่าย ๆ แต่พอได้ปฏิบัติจริง ๆ แล้ว ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายหรอกค่ะ มีเกร็ดเล็ก เกร็ดน้อยเยอะมากค่ะ…
ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2553 เรื่องแก้ไขข้อคลาดเคลื่อน… อบรมออนไลน์ฟรี สร้าง BOARD GAME แสนสนุกด้วยแอปทวิงเกอร์ วันเสาร์ ที่ 21 ม.ค. ‘ชูวิทย์’ แฉเหตุ ‘นอท สลากพลัส’ ซวย ถูกดีเอสไอบุก ยกสุภาษิต ‘อยู่ให้เป… ‘ยุทธพงศ์’เตรียมยื่นป.ป.ช.สอบ’ณัฏฐพล’ตั้งคนสนิทนั่งเลขาฯสกสค.
เป็นกำลังใจให้ก็แล้วกันนะคะ…(เป็นไปได้ให้ลองปรึกษา ผอ.เขต สิค่ะ)… ยังเป็นขั้นอยู่ค่ะ…ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะนำมาแจ้งให้ทราบค่ะ… เพื่อที่ทางลูกจ้างทางนี้จะได้รับความรู้และการช่วยเหลือที่ดีเยี่ยมจากอาจารย์… อ่านเรื่อง “การบริหารจัดการความรู้ที่มีอยู่ในตัวคน” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…
ปัจจุบันเป็นตำแหน่งช่างไม้ ระดับ three หากจะปรับเป็นช่างไม้ ระดับ four นั้น ให้คุณดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง หน้า 31 ซึ่งมีทั้งหมด 4 ข้อ ให้คุณใช้คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ข้อใดข้อหนึ่งใน four ข้อ (ข้อใดก็ได้ค่ะ เพราะใช้คำว่า “หรือ”) ซึ่งก็ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในระดับชั้นที่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ความรับผิดชอบ คุณอาจใช้ ข้อ 1 หรือ ข้อ 2 หรือ ข้อ three หรือ ข้อ four ในการเข้าสู่เกณฑ์ที่จะได้รับแต่งตั้งให้เป็นช่างไม้ ระดับ 4 ก็ได้ค่ะ… การที่เราจะขอเปลี่ยนตำแหน่งคงจะไม่ได้ ต้องปรึกษาที่ ผอ.และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ก่อนค่ะว่าจะดำเนินการให้หรือไม่ เพราะเป็นอำนาจของส่วนราชการค่ะ…ถ้าทำให้หรือตกลงกันได้ก็สามารถทำได้ค่ะ…ความจริงแล้ว ทาง สพม. ต้องทำการชี้แจงให้ลูกจ้างประจำรับทราบค่ะว่าจะให้ดำเนินการอย่างไร… การประกาศของส่วนราชการในการขอปรับเปลี่ยนตำแหน่งจากพนักงานธุรการ 1 เป็น 2 หรือ 3 หรือ four เพราะเหตุที่ทำต้องแจ้งให้บุคลากรในสังกัดเราทราบว่ามีท่านใดที่จะประสงค์ปรับเปลี่ยน เพราะบางส่วนราชการจะมีเจ้าหน้าที่ตำแหน่งดังกล่าวหลายคนค่ะ… สำหรับคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งกระทรวงการคลังจะเป็นผู้กำหนดค่ะ…ทางกระทรวงการคลังคงจะมีเหตุผลในการปรับนะค่ะ…การปรับชั้น 3 เป็น four ในตำแหน่งพนักงานพิมพ์นั้น ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงาน ก.พ. ด้วยค่ะ…สำหรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งต้องศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือสำนักงาน ก.พ.
ลิงก์เข้าอบรมออนไลน์ วันครู 2566 คู่มือการเข้าใช้งานอบรมผ่าน ระบบ trainflix อบรมฟรี วันครู ครั้งที่ 67 พ.ศ…. นักร้องหนุ่มไม่สำนึก พราวด์นั่งแท่นลูกรักทำผิดก็แค่ขอโทษ “มาดามกุ๊งกิ๊ง” มาแล้วย่ะทุกคน ตามมาแซ่บ มาเผือกกันเร็ว คิดว่าเดาไม่ยาก ทุกคนรู้เชื่อเดี๊ยน… “ครม.” ไฟเขียวเพิ่มเงินเดือน 9,000 และ 15,000 บาท “ภารโรง-ลูกจ้าง” สังกัดสพฐ. เพราะการเปลี่ยนตำแหน่งต้องมีการ อาจสอบคัดเลือก ซึ่งต้องเป็นเรื่องใหญ่ที่ จนท.ต้องทำไงค่ะ เลยต้องให้คำสั่งเข้าแท่งให้เรียบร้อยก่อนค่ะ… การเปลี่ยนตำแหน่งใด ๆ น่าจะต้องรอหนังสือของ สพฐ.แจ้งว่าสำนักงาน ก.พ.
สำหรับเงิน 8 % น่าจะเป็นส่วนของข้าราชการครู ของ สพฐ.มากกว่ากระมังค่ะ เพราะข้าราชการพลเรือนสามัญ, ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ก็ได้เพียง 5 % เท่านั้นค่ะ เช่นเดียวกับลูกจ้างประจำ ไม่สามารถได้อีก eight % แล้วค่ะ…เพราะตามมติ ครม. สำหรับกรณีที่คุณยังไม่เคยทำหน้าที่ดังกล่าวข้างต้น ส่วนราชการอาจกำหนดภาระงานให้คุณ แล้วทำการสอบคัดเลือกก็ได้ค่ะ… สำหรับพนักงานธุรการ คุณก็ต้องเคยได้ปฏิบัติงานสารบรรณมาพอสมควร เช่น สามารถร่างหนังสือโต้ตอบหนังสือราชการได้ การรับ – ส่ง หนังสือราชการ การเก็บรักษา การยืม การทำลายหนังสือในระดับหนึ่ง ให้ศึกษาคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานธุรการด้วยนะคะ…
ข่าวสดประชาชาติธุรกิจสุดสัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมเทคโนโลยีชาวบ้านเส้นทางเศรษฐีสำนักพิมพ์มติชนศูนย์ข้อมูลมติชนมติชนอคาเดมีKhaosod EnglishMatichon Investor Relationร่วมงานกับเรา. การใช้บัญชีอัตราค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการใหม่ 5 % ตามบล็อกด้านล่างนี้นะค่ะ… ให้คุณดูที่รหัส 2101 คือ ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ระดับ three ตามไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… น่าจะไม่ได้นะค่ะ…เพราะที่แจ้งเกี่ยวกับลูกจ้างประจำทั้งหมดนี้ จะเป็นลูกจ้างประจำที่ใช้ระเบียบของกระทรวงการคลังค่ะ… ดังนั้นการขออนุมัติงบกลางที่เป็นงบฉุกเฉินนี้ก็เพื่อให้ได้เงินที่เพียงพอต่อการจ้างและไม่สะดุดและครอบคลุมกลุ่มอัตราจ้างทุกคน.
“บุญสิงห์” เผย “ธรรมนัส” ไม่ขอรับตำแหน่งใน “พปชร.” เตรียมเข้าพรรค ต้น ก.พ. 2562 อดิศรโพสต์อย่าไปจูบกันให้นร.เห็น หลังทยายินดีณัฏฐพลนั่งศธ. อ่าน “ส.ค.ส.2011 มอบแด่เพื่อนและสมาชิกที่อ่าน gotoknow ทุกท่าน” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…
ให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลางนะคะ ว่าทำได้หรือไม่ เพราะในสมัยก่อนจะต้องระบุว่าคนที่เป็นหัวหน้าจะต้องมีลูกน้องกี่คน แต่ไม่ทราบว่าปัจจุบันยังจะกำหนดการควบคุมลูกน้องอยู่หรือเปล่า…ถ้าดูในคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่นี้ ไม่มีระบุไว้ เพื่อความชัดเจนให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลางนะคะ… การทำงานเกี่ยวกับบุคคล เป็นงานที่เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของบุคลากรของส่วนราชการ ทุกประเภทจะต้องมีความเทียมเทียมกันเพราะไม่เช่นนั้น ในอนาคตมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพียงแต่ผู้ใต้บังคับบัญชายังรู้กฎหมายไม่มาก ถ้าบางส่วนราชการไปพบเจอบุคคลที่เรียกว่า รู้กฎหมายมาก ๆ ถึงกับมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพราะในระดับ ม. ลองคลิกดูนะค่ะ ในบล็อกนี้นะค่ะ…เรื่อง บัญชีกำหนดคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งและอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำ นี่แหล่ะค่ะ… ปัจจุบัน การเป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจำ มีหลากหลายสังกัดเหลือเกินค่ะ ไม่เหมือนสมัยก่อน การที่จะแจ้งอะไรให้ทราบก็ต้องให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนจึงจะนำมาแจ้งได้ค่ะ ขอบคุณล่วงหน้านะค่ะ…
แจ้งว่าอย่างไร….ถ้าระบุจำนวนปีก็ควรปฏิบัติตามนั้น แต่ถ้าไม่ระบุ ก็เป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่ค่ะ… ถ้าจะไปอยู่กลุ่มที่ 2 ได้ คุณต้องมีการปรับเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ three ก่อนค่ะ อาจโดยการสอบคัดเลือก ซึ่งส่วนราชการจะเป็นผู้จัดสอบเกณฑ์ต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานพิมพ์ ระดับ three นะค่ะ…เมื่อสอบได้และได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ three แล้ว จึงจะสามารถไปยังกลุ่มที่ 2 ได้ค่ะ…(ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.พ. กำหนดค่ะ)… สำหรับคนที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ เป็นผู้ที่ต้องการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง จะต้องทำอย่างไรนั้น…ผู้เขียนขอบอกว่าให้เตรียมตัว “อ่านหนังสืองานสารบรรณ หรือเรื่องที่ส่วนราชการต้องการสอบเพื่อคัดเลือกท่าน” เท่านั้นเองค่ะ…สอบให้ผ่านตามที่ผู้เขียนบอกข้างต้นค่ะ… ขอเรียนสอบถามพี่ว่า ทำไมตอนนี้ทาง สพม.ยังไม่มีหนังสือแจ้งเรื่องการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ตำแหน่งใหม่เลย ตอนนี้ยังไม่สามารถดำเนินการอะไรได้เลย บัญชีเงินเดือนยังใช้บัญชีเดิมอยู่เลย ทำไมไม่รวดเร็วเหมือนหน่วยงานของ มรภ.เลย ทั้งๆที่อยู่ในกระทรวงเดียวกัน สอบถามทางเจ้าหน้าที่ ได้รับคำตอบว่า ต้องให้ทางหน่วยเหนือสั่งลงมาก่อน …. ถ้าปรับเปลี่ยน น่าจะเป็นตำแหน่งช่างครุภัณฑ์ นะคะ…เพราะทำเกี่ยวกับเรื่องโสตทัศนศึกษาได้ ให้คลิกดูที่ไฟล์ด้านบน กลุ่มงานช่างค่ะ สำหรับเงินค่าจ้างนั้น ก็อยู่ในไฟล์นั้นอยู่แล้วค่ะ ศึกษาให้ละเอียดนะค่ะ แล้วจะทราบว่าควรเปลี่ยนหรือไม่…
เหตุที่ผู้เขียนต้องมานั่งตอบ มาบอก เพียงเพื่อ “ให้ทราบว่าโลกปัจจุบันเขาไปถึงไหนกันแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงต่อบ้านเมืองและระบบราชการมากมาย แต่บางคนก็มิได้ศึกษา แต่อยู่เพื่อรับเงินเดือนไปวัน ๆ ไม่สมกับตนเองได้รับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่งกันเลย ไม่คิดถึง คำว่า “ข้าราชการ” ที่ดีมากนัก น่าสงสารประเทศชาติจังค่ะ… การทำงานบุคคล เท่าที่ผ่านมา จะเป็นการทำงานแบบงานประจำ คือ งานธุรการ แต่ในอนาคตเป็นการทำงานแบบเชิงรุก ต้องทำทุกรูปแบบที่จะให้ส่วนราชการอยู่รอดได้ค่ะ (นี่คือ การบริหารงานภาครัฐเกี่ยวกับเรื่องบุคคลแนวใหม่)…ผู้เขียนยังคิดอยู่เสมอว่า ถ้าเจ้าหน้าที่งานบุคคลยังทำแบบนี้ ก็ไม่แตกต่างกับการทำงานแบบเดิม ๆ ไม่มีการทำงานแบบเชิงรุก ไม่เสาะหาความรู้ ไม่มีการพัฒนาตนเอง ยังคิดว่า ประเทศไทยจะไปถึงไหนกันหนอ… จากข้อ 2 สามารถทำเรื่องไปที่ กลุ่มงานบุคคลของ สพท.
ดูผลของการทำงานของลูกน้องค่ะ…เลยมีความสบายใจ และเป็นเสียงให้กับบุคลากรใน ม. ว่า ให้เน้นการทำงานเป็นหลัก…คุณโชคไม่ดีจังที่หัวหน้าไม่มองถึงผลงาน…แต่ก็ขอเป็นกำลังใจให้นะค่ะว่า ในเมื่อเราทำดีมาตลอด ขอให้ทำความดีนั้นต่อค่ะ…สักวันคงเป็นผลที่เกิดจากการกระทำของเราบ้าง…ใครจะได้อย่างไรก็ช่างเขาเถอะค่ะ…ฟ้ามีตาค่ะ เชื่อในกฎแห่งกรรมบ้างหรือไม่? ของกรมอาชีวศึกษา ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ที่พี่ว่านี้นะค่ะ…ถ้าใช้ระเบียบฉบับเดียวกัน ทำไมถึงไปเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำตำแหน่งเดิมเขาละค่ะ…ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ที่ ก.พ. กำหนดก็มีนี่ค่ะ…แสดงว่าอยู่ที่ต้นสังกัดดำเนินการให้กับลูกจ้างประจำแล้วนะค่ะ…ลองสอบถามเจ้าหน้าที่ คือ งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ ว่าเปลี่ยนเพราะเหตุใด แล้วตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยนคือ ตำแหน่งใด เพราะไม่ได้แจ้งให้พี่ทราบ จึงไม่ทราบว่าคุณตำแหน่งใดในปัจจุบัน…ตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยน ก็ต้องมีในตำแหน่งที่สำนักงาน ก.พ. ระบุ เป็นมาตรฐานกำหนดตำแหน่งด้วยนะค่ะ ถ้าไม่อย่างนั้นแล้ว จะมีปัญหาในภายหน้าค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งใหม่อีก ต้องดูด้วยนะค่ะ ว่าเราสามารถที่จะก้าวหน้าไปได้อีกหรือไม่…และปัจจุบันทำอยู่หรือไม่ ถ้าตำแหน่งเดิมดีอยู่แล้วก็ไม่ควรเปลี่ยนนะค่ะ… เพราะกระบวนการในการปรับเปลี่ยนในแต่ละตำแหน่งต้องให้ชัดเจนค่ะ ส่วนราชการสามารถตอบคำถามใครต่อใครได้ ว่า ดำเนินการเปลี่ยนระดับให้กับลูกจ้างประจำได้เพราะเหตุใด ส่วนใหญ่ ก็จะทำการสอบ หรือให้ลูกจ้างประจำปฏิบัติงานให้คณะกรรมการได้ดูหรือตรวจสอบค่ะ…ไม่ใช่ปรับได้โดยอัตโนมัติ…สำหรับพนักงานพิมพ์ ก็ต้องดำเนินการพิมพ์ให้กับคณะกรรมการได้ตรวจสอบ ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนดหรือไม่ค่ะ…
นะค่ะ…เพราะเข้าเกณฑ์ในข้อ four ก็สามารถปรับได้ค่ะ แต่งานที่ทำอยู่ต้องเป็นงานธุรการนะค่ะ…ไม่ใช่เป็นพนักงานพิมพ์อย่างเดียว… ยินดีให้คำแนะนำค่ะ…นี่คือ หน้าที่ของข้าราชการค่ะ ถ้าเรารู้ เราควรให้คำแนะนำ…ไม่ว่าจะอยู่สังกัดใด ถ้าเราเป็นคนไทย ใช้ระเบียบปฏิบัติเดียวกัน ถ้ารู้ ควรเป็นที่ปรึกษาให้ได้ค่ะ… การเปลี่ยนตำแหน่งในแต่ละตำแหน่งให้ดูที่คุณสมบัติของแต่ละตำแหน่งนั้นนะค่ะ + คำสั่งหน้าที่ที่ตัวเราได้รับมอบหมายให้ทำงานด้วยค่ะ ถ้าไม่เป็นไปตามคุณสมบัติ ฯ ก็ไม่สามารถที่จะเปลี่ยนได้ค่ะ…
ว่าได้หรือไม่ เพราะถ้าข้าราชการเงินเดือนขึ้น ลูกจ้างประจำของส่วนท้องถิ่น ก็น่าจะขึ้นนะค่ะ… หรือไม่ก็สอบถามหัวหน้าส่วนราชการที่คุณสังกัดดูนะค่ะ… เมื่อประกาศผลสอบได้ ก็เรียกบรรจุตามกระบวนการในการสอบคัดเลือกค่ะ…และก็ออกคำสั่งการปรับเปลี่ยนตำแหน่งให้ค่ะ แต่ควรประสานงานกับ ก.พ. + กรมบัญชีกลางด้วยนะค่ะ…อาจเป็นการส่งคำสั่งให้ทราบค่ะ… ให้ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่คุณต้องการเปลี่ยน ดูแล้วสามารถเปลี่ยนได้ค่ะ ถ้าทำงานการเงินมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี แต่คุณทำมาแล้ว three ปี ก็สามารถทำการเปลี่ยนได้ ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + คำสั่งที่สั่งการให้คุณปฏิบัติหน้าที่การเงินด้วยนะค่ะ…
ให้คุณศึกษาระเบียบงานสารบรรณ หน้า 21 ตามไฟล์ด้านล่างนี้นะค่ะ… สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนต้องการมอบให้ พวกเราทุกคนค่ะ เลยมาชวนไปดูค่ะ… ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเรื่องบุคคล ดูก่อนค่ะ… สามารถเป็นระดับ three ได้เลยค่ะ…ค่าจ้างก็จะไต่ไปเรื่อย ๆ ค่ะ… ขอบคุณสำหรับคำอวยพรค่ะ…เช่นเดียวกันค่ะ ขอให้คำพรที่ให้มาก็ย้อนกลับคืนสู่คุณด้วยเช่นกันค่ะ…