2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช้ ก็น่าจะปรับเปลี่ยนเหมือนเช่นที่ผู้เขียนบอกค่ะ…แต่ถ้าไม่ใช่ต้องสอบถามที่หัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ…เพราะต้องเข้าใจว่า บางครั้งกฎหมายราชการมีมากมายเหลือเกินค่ะ เกินว่าที่ผู้เขียนจะทราบหมดทุกเรื่องค่ะ… ของกรมอาชีวศึกษา ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ที่พี่ว่านี้นะค่ะ…ถ้าใช้ระเบียบฉบับเดียวกัน ทำไมถึงไปเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำตำแหน่งเดิมเขาละค่ะ…ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ที่ ก.พ. กำหนดก็มีนี่ค่ะ…แสดงว่าอยู่ที่ต้นสังกัดดำเนินการให้กับลูกจ้างประจำแล้วนะค่ะ…ลองสอบถามเจ้าหน้าที่ คือ งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ ว่าเปลี่ยนเพราะเหตุใด แล้วตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยนคือ ตำแหน่งใด เพราะไม่ได้แจ้งให้พี่ทราบ จึงไม่ทราบว่าคุณตำแหน่งใดในปัจจุบัน…ตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยน ก็ต้องมีในตำแหน่งที่สำนักงาน ก.พ. ระบุ เป็นมาตรฐานกำหนดตำแหน่งด้วยนะค่ะ ถ้าไม่อย่างนั้นแล้ว จะมีปัญหาในภายหน้าค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งใหม่อีก ต้องดูด้วยนะค่ะ ว่าเราสามารถที่จะก้าวหน้าไปได้อีกหรือไม่…และปัจจุบันทำอยู่หรือไม่ ถ้าตำแหน่งเดิมดีอยู่แล้วก็ไม่ควรเปลี่ยนนะค่ะ… สำหรับข้อที่ว่า “เป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในระดับชั้นที่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ความรับผิดชอบ” นั้น…หมายถึง เราเคยได้รับการผ่านการทดสอบมาตรฐานจากกรมฝีมือแรงงานไงค่ะ…ที่กรมฝีมือแรงงาน เขาจะมีการทดสอบเกี่ยวกับ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างยนต์ เขาจะมีใบรับรองว่าเราได้ผ่านการทดสอบมาตรฐานการทำงาน เช่น ช่างไม้ เมื่อเทียบกับตำแหน่งช่างไม้ของการทำงาน จะอยู่ในระดับชั้นใด ระบุไว้ค่ะ…เช่น การรับรองคนที่ไม่ได้จบการศึกษา ม.6 ปวช.
การใช้บัญชีอัตราค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการใหม่ 5 % ตามบล็อกด้านล่างนี้นะค่ะ… ให้คุณศึกษาระเบียบงานสารบรรณ หน้า 21 ตามไฟล์ด้านล่างนี้นะค่ะ… การเปลี่ยนตำแหน่งใด ๆ น่าจะต้องรอหนังสือของ สพฐ.แจ้งว่าสำนักงาน ก.พ. บัญชีค่าจ้างแบบใหม่ (1 เม.ย. 2553) มีผลบังคับใช้แล้วค่ะ…ศึกษาได้ตามบล็อกดังกล่าวที่แจ้งไว้ค่ะ…ค่อย ๆ ศึกษาไปนะค่ะ… การเทียบค่าจ้างได้เท่าเดิมค่ะ…จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น จนถึงเพดานสูงสุดของกลุ่ม 1 ก่อนแล้วจึงปรับเข้าสู่กลุ่ม 2 ค่ะ…
แต่เขามีความชำนาญในการทำงานด้านช่างไม้ ช่างปูน คนกลุ่มนี้ ก็ไปให้กรมฝีมือแรงงานรับรองการมีความชำนาญการของเขา…เพื่อรับรองคนกลุ่มนี้ไปทำงานด้านการก่อสร้างในต่างประเทศไงค่ะ…กรมฝีมือแรงงาน เป็นสถาบันอีกสถาบันหนึ่งที่รับรองความสามารถ ความชำนาญการ ของคนที่ไม่ได้เรียนในระบบ (เรียนโรงเรียนประถม มัธยม มหาวิทยาลัยค่ะ…)…เป็นการให้โอกาสผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบได้ค่ะ… เพราะกระบวนการในการปรับเปลี่ยนในแต่ละตำแหน่งต้องให้ชัดเจนค่ะ ส่วนราชการสามารถตอบคำถามใครต่อใครได้ ว่า ดำเนินการเปลี่ยนระดับให้กับลูกจ้างประจำได้เพราะเหตุใด ส่วนใหญ่ ก็จะทำการสอบ หรือให้ลูกจ้างประจำปฏิบัติงานให้คณะกรรมการได้ดูหรือตรวจสอบค่ะ…ไม่ใช่ปรับได้โดยอัตโนมัติ…สำหรับพนักงานพิมพ์ ก็ต้องดำเนินการพิมพ์ให้กับคณะกรรมการได้ตรวจสอบ ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนดหรือไม่ค่ะ… การทำงานบุคคล เท่าที่ผ่านมา จะเป็นการทำงานแบบงานประจำ คือ งานธุรการ แต่ในอนาคตเป็นการทำงานแบบเชิงรุก ต้องทำทุกรูปแบบที่จะให้ส่วนราชการอยู่รอดได้ค่ะ (นี่คือ การบริหารงานภาครัฐเกี่ยวกับเรื่องบุคคลแนวใหม่)…ผู้เขียนยังคิดอยู่เสมอว่า ถ้าเจ้าหน้าที่งานบุคคลยังทำแบบนี้ ก็ไม่แตกต่างกับการทำงานแบบเดิม ๆ ไม่มีการทำงานแบบเชิงรุก ไม่เสาะหาความรู้ ไม่มีการพัฒนาตนเอง ยังคิดว่า ประเทศไทยจะไปถึงไหนกันหนอ…
ก็ไม่มีกรอบกำหนดไว้แบบที่คุณบอกนะคะ สามารถโตได้จนกว่าความสามารถของลูกจ้าง ฯ คนนั้นจะไม่สามารถทำได้เองไงค่ะ… คงต้องรอกฎหมายของลูกจ้างประจำก่อนกระมังค่ะ…เพราะตอนนี้ยังไม่เห็นมีค่ะ เอาไว้จะถามกรมบัญชีกลางให้แล้วจะมาบอกนะค่ะ… กระบวนการดำเนินการ อาจมีการสอบ ขึ้นอยู่กับส่วนราชการค่ะ…
2.จะได้ปรับตำแหน่งเหมือนกับกระทรวงอื่นๆหรือเปล่าถ้าปรับแล้วจะอยู่ในกลุ่มใดครับ3. เตรียมรับการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ ผอ.สพป. ถ้าคุณสมบัติใหม่ไม่มีลูกน้องมาเกี่ยวข้องก็ไม่น่าจะต้องนำมาเป็นเกณฑ์นี่ค่ะ แต่ให้สอบถามเพื่อความถูกต้องอีกครั้งค่ะ…
สงกรานต์ว่าจะไปทำบุญให้แม่ที่วัดค่ะ…แล้วก็มาเก็บกวาดบ้านค่ะ… ต้องคอยดูระเบียบที่ออกมาใช้บังคับให้ปฏิบัติก็แล้วกันนะค่ะ… ขอบคุณสำหรับคำอวยพรค่ะ…เช่นเดียวกันค่ะ ขอให้คำพรที่ให้มาก็ย้อนกลับคืนสู่คุณด้วยเช่นกันค่ะ…
เหลือเพียงแต่จะปรับให้เปลี่ยนตำแหน่งใหม่ค่ะ แต่ก็ต้องดูที่การพัฒนาของแต่ละคนด้วยค่ะ ว่าจะได้หรือไม่… ถ้าสงสัยก็สอบถามมาใหม่นะค่ะ…แต่ต้องบอกรายละเอียดให้ชัดเจนมากขึ้นค่ะ พี่ถึงจะตอบได้ค่ะ… เชิญชวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สมัครสอบภูมิศาสตร์ สอวน. ประชุมเพื่อขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและ สพฐ.
2537 หรือไม่ ถ้าใช่ สงสัยเรื่องเงินเดือนของคุณนะค่ะว่า ทำไมได้รับเพียง 4,800 บาท เพราะในระเบียบเขาจะกำหนดขั้นต่ำไว้ที่ 5,080 หรือไงนี่แหล่ะค่ะ ให้ดูตามไฟล์ด้านล่าง ลองคลิกดูนะค่ะ รหัส พนักงานบริการ คือ 1117 ค่ะ เลื่อน curser ลงไปที่รหัสดังกล่าวนะค่ะ ทั้ง 2 ไฟล์ จะทำให้ทราบเรื่องขั้นค่าจ้างขั้นต่ำ – ขั้นสูง และทราบหน้าที่ที่เราต้องรับผิดชอบค่ะ ว่าต้องทำอะไรบ้างกับตำแหน่งที่เราเป็นอยู่ค่ะ…ถ้าสงสัยก็ถามมาใหม่นะค่ะ… ระดับ 3 ในกลุ่มค่าจ้างจะอยู่ในกลุ่มที่ แล้วค่ะ ไม่ต้องทำอะไรทั้งนั้น เมื่อค่าจ้างเต็มขั้นแล้ว เจ้าหน้าที่จะปรับให้คุณโดยเทียบค่าจ้างที่สูงกว่า 18,one hundred ninety บาท โดยสามารถเลื่อนเป็นค่าจ้างที่สูงขึ้น ได้เลยค่ะ ถ้าจำไม่ผิด 18,380 บาท ค่ะ เพราะที่ ม. ก็ดำเนินการไปให้กับลูกจ้างแล้วค่ะ…เป็นเพราะกรมบัญชีกลาง กำหนดให้แล้วนี่ค่ะ ว่าตำแหน่งพนักงานพิมพ์ อยู่ในกลุ่มการรับค่าจ้างที่กลุ่ม 1-2 ค่ะ (ไม่ต้องทำอะไรแล้วค่ะ) งานการเจ้าหน้าที่สามารถดำเนินการได้เลยค่ะ…จนกว่าจะไปตันที่ค่าจ้างขั้นสูงของกลุ่มที่ 2 ค่อยดำเนินการเปลี่ยนตำแหน่งให้ใหม่ค่ะ… ปัจจุบันเงินค่าจ้างจะอยู่ที่ ระดับ 2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้วไม่สามารถไหลไปที่ระดับ 3 ได้หรอกค่ะ เพราะปัจจุบันคุณอยู่ที่กลุ่มค่าจ้างกลุ่มที่ 1-2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้ว อยู่ที่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ดูให้คุณ อาจจะดำเนินการสอบเพื่อเลื่อนระดับให้กับคุณก็ได้ ข้อสอบที่ใช้สอบอาจเป็นลักษณะของ กฎหมาย ระเบียบที่คุณปฏิบัติเกี่ยวกับการเงินก็ได้ไงค่ะ…
เหตุที่ผู้เขียนต้องมานั่งตอบ มาบอก เพียงเพื่อ “ให้ทราบว่าโลกปัจจุบันเขาไปถึงไหนกันแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงต่อบ้านเมืองและระบบราชการมากมาย แต่บางคนก็มิได้ศึกษา แต่อยู่เพื่อรับเงินเดือนไปวัน ๆ ไม่สมกับตนเองได้รับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่งกันเลย ไม่คิดถึง คำว่า “ข้าราชการ” ที่ดีมากนัก น่าสงสารประเทศชาติจังค่ะ… จากที่เขียนบล็อกมา ทำให้ทราบว่า ส่วนราชการไทย ควรพัฒนาด้านความรู้ให้กับหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ อย่างแท้จริงในการให้ความสำคัญ สิทธิประโยชน์ของกลุ่มบุคลากรในองค์กรนั้น ๆ อย่างมากจริง ๆ ค่ะ… สำหรับเรื่องอื่น ๆ ก็อยู่ที่ส่วนราชการคุณว่าต้องการหรือไม่ เช่น แฟ้มสะสมผลงาน ตั้งแต่เริ่มแรก – ปัจจุบัน + ข้อมูลการพัฒนาตนเองของคุณ (การอบรม + การประชุมต่าง ๆ + ความรู้ที่คุณได้รับการพัฒนามา) + รูปภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่คุณได้ปฏิบัติงานมา (ถ้ามี) ค่ะ… ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการก็สามารถตอบได้ค่ะ…แต่คุณเป็น ของสังกัด อบจ. งานการเจ้าหน้าที่ ดูนะค่ะ…เพราะกฎหมายจะใช้คนละฉบับหรือเปล่า ไม่แน่ใจค่ะ…แต่ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ก็ใช้ที่บล็อกนี้ค่ะ…
เกิดขึ้น ผู้เขียนยังสงสัยว่าลูกจ้างประจำของ อบต. 2537 หรือไม่ ถ้านิยามเหมือนกัน ก็ใช้ด้วยกันได้ แต่ถ้านิยามคำว่า ลูกจ้างประจำของส่วนราชการกับลูกจ้างประจำของ อบต. ใช้ระเบียบคนละฉบับ ก็ไม่ใช่ ให้คุณสอบถามเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบดูก่อนนะค่ะ ผู้เขียนเกรงว่าถ้าตอบไปแล้วผิด เพราะปัจจุบันกฎหมายมีมากมายเหลือเกิน…แต่ถ้าความหมายของลูกจ้างประจำของส่วนราชการหมายรวมถึงลูกจ้างประจำของ อบต. (เนื่องจาก อบต. เพิ่งจะมาก่อตั้งหลังจากระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ)เพราะในความหมายของลูกจ้างประจำของส่วนราชการตามระเบียบนั้น มีสังกัดตามส่วนราชการ กระทรวง ค่ะ เลยไม่แน่ใจว่าหมายความรวมถึง ลูกจ้างประจำของ อบต.หรือไม่…อย่างไรแล้ว ขอให้สอบถามเจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่หรืองานบุคคลดูก่อนนะค่ะ… ไม่ทราบว่าลูกจ้างประจำของสังกัดกระทรวงกลาโหม ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ.
คุณต้องศึกษาดูที่หน้าที่ของตำแหน่งผู้ดูแสสถานที่ด้วยนะค่ะว่ามีหน้าที่อย่างไร แล้วคุณปัจจุบันทำงานในลักษณะไหน ทำหรือไม่ ถ้าไม่แล้วหัวหน้าหน่วยงานสั่งให้ทำในตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. หรือไม่ ถ้าเป็นลักษณะงานเหมือนเดิมคงไม่ได้ค่ะ แต่ถ้าภาระงานใช่ตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. ก็สามารถทำได้ แต่ทั้งนี้ให้ศึกษาหนังสือสำนักงาน ก.พ.
แจ้งว่าอย่างไร….ถ้าระบุจำนวนปีก็ควรปฏิบัติตามนั้น แต่ถ้าไม่ระบุ ก็เป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่ค่ะ… อย่าลืมว่า…ตั้งแต่ปี 2535 เป็นต้นมา ตั้งแต่ประเทศไทยได้กู้เงินจาก IMF…ซึ่งเงื่อนไขในการกู้เงินจาก IMF…ระบุไว้ว่า ถ้าประเทศไทยจะกู้เงินจากต่างประเทศได้ ประเทศไทยต้องลดอัตรากำลังข้าราชการที่เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี ให้ได้…ถึงแม้การใช้หนี้ IMF. จะหมดไปแล้ว สำหรับปัจจุบัน ผู้เขียนก็ยังไม่ทราบว่าที่ประเทศไทยไปกู้เงินต่างชาติมาอีกนั้น จะมีข้อแม้ข้อนี้รวมอยู่ด้วยหรือไม่…จึงทำให้รัฐต้องลดอัตรากำลังของข้าราชการไงค่ะ เพราะงบประมาณค่าใช้จ่ายในเรื่องของเงินเดือนเป็นจำนวนค่อนข้างสูงค่ะ…
ด้วยค่ะ…สำหรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งต้องศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือสำนักงาน ก.พ. ถ้าปรับเปลี่ยน น่าจะเป็นตำแหน่งช่างครุภัณฑ์ นะคะ…เพราะทำเกี่ยวกับเรื่องโสตทัศนศึกษาได้ ให้คลิกดูที่ไฟล์ด้านบน กลุ่มงานช่างค่ะ สำหรับเงินค่าจ้างนั้น ก็อยู่ในไฟล์นั้นอยู่แล้วค่ะ ศึกษาให้ละเอียดนะค่ะ แล้วจะทราบว่าควรเปลี่ยนหรือไม่… ลองปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + จนท.ที่รับผิดชอบดูนะค่ะ…เพราะสมัยก่อน ทางส่วนกลาง หรือ กรม จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกให้กับคุณไงค่ะ…
เดิม เจ้าหน้าที่จะไม่แต่งตั้งหรอกค่ะ…โชคดีนะค่ะ… กำหนดตำแหน่งใหม่หรือไม่…ถ้าทำแบบเดิม ก็ไม่สามารถทำได้ค่ะ… อ่าน “ส.ค.ส.2011 มอบแด่เพื่อนและสมาชิกที่อ่าน gotoknow ทุกท่าน” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2553 เรื่องแก้ไขข้อคลาดเคลื่อน…
ขอให้คุณดูมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ของตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชีให้ดีนะค่ะ ว่าจะสามารถเติบโตได้ถึงระดับไหน กับเปรียบเทียบว่าถ้าเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ 1 ต่อไป ก็เป็น ระดับ 2,3,four ซึ่งผู้เขียนขอให้ดูว่าเพดานของค่าจ้าง ตำแหน่งไหนสูงกว่ากันค่ะ ถ้าพอ ๆ กัน ก็ขึ้นอยู่กับคุณตัดสินใจว่าจะไปอยู่ในตำแหน่งไหนค่ะ…แต่พนักงานพิมพ์ เป็นงานที่กว้างกว่าพนักงานการเงินและบัญชีนะค่ะ…ลองศึกษารายละเอียดดูนะค่ะ… โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ได้รับงบประมาณจัดสรรโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอ… ว่าได้หรือไม่ เพราะถ้าข้าราชการเงินเดือนขึ้น ลูกจ้างประจำของส่วนท้องถิ่น ก็น่าจะขึ้นนะค่ะ… หรือไม่ก็สอบถามหัวหน้าส่วนราชการที่คุณสังกัดดูนะค่ะ… การที่เราจะขอเปลี่ยนตำแหน่งคงจะไม่ได้ ต้องปรึกษาที่ ผอ.และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ก่อนค่ะว่าจะดำเนินการให้หรือไม่ เพราะเป็นอำนาจของส่วนราชการค่ะ…ถ้าทำให้หรือตกลงกันได้ก็สามารถทำได้ค่ะ…ความจริงแล้ว ทาง สพม.
ให้ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่คุณต้องการเปลี่ยน ดูแล้วสามารถเปลี่ยนได้ค่ะ ถ้าทำงานการเงินมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี แต่คุณทำมาแล้ว 3 ปี ก็สามารถทำการเปลี่ยนได้ ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + คำสั่งที่สั่งการให้คุณปฏิบัติหน้าที่การเงินด้วยนะค่ะ… ในกรณีที่คุณแจ้งมานั้น อาจเป็นการเปลี่ยนเพียงระดับกระมังค่ะ เช่น ช่างไม้ 1 เป็นช่างไม้ 2 ช่างไม้ three ช่างไม้ four เหตุที่ได้ น่าจะลูกจ้างประจำท่านนั้น ไม่ได้เปลี่ยนตำแหน่งเช่นอย่างคุณ ส่วนราชการจึงทำให้ค่ะ… ตำแหน่งพนักงานขับรถยนต์ อยู่ในระหัส 2913 ค่ะ เราควรทำบัญชีคุมลูกจ้างประจำไว้ด้วยนะค่ะ…ว่าปัจจุบันเขาอยู่ตำแหน่งใด ระดับใด กลุ่มบัญชีค่าจ้างที่ 1 หรือ 1-2 หรือ three ค่ะ เพราะจะง่ายต่อการที่เราไม่ทำผิดพลาดในภายหลังค่ะ… ไม่ทราบว่าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ …เนื่องจากข้อมูลไม่ละเอียดพอ…ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ ถ้าเป็นเทศบาล ต้องสอบถามที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนะค่ะ…เพราะไม่เกี่ยวกับลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ที่พี่เขียนนี้จะเกี่ยวกับระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการค่ะ… ผู้เขียนได้เขียนเรื่อง “การคิดเชิงบวก” ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อคิดในการดำเนินชีวิต + การทำงาน อาจมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน…ศึกษารายละเอียดได้ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ…
ขอเรียนสอบถามพี่ว่า ทำไมตอนนี้ทาง สพม.ยังไม่มีหนังสือแจ้งเรื่องการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ตำแหน่งใหม่เลย ตอนนี้ยังไม่สามารถดำเนินการอะไรได้เลย บัญชีเงินเดือนยังใช้บัญชีเดิมอยู่เลย ทำไมไม่รวดเร็วเหมือนหน่วยงานของ มรภ.เลย ทั้งๆที่อยู่ในกระทรวงเดียวกัน สอบถามทางเจ้าหน้าที่ ได้รับคำตอบว่า ต้องให้ทางหน่วยเหนือสั่งลงมาก่อน …. ประกาศรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับย้ายข้าราชการให้ดำรงตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค. ทร.๗๕ จัดกิจกรรมลูกเสือต้านภัยยาเสพติด ๑๙ กันยายน ๒๕๖๕ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มงานบริหารงานวิชาการ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติจัดก… ขอบคุณค่ะ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนอยู่แล้วค่ะ ในเมื่อรู้ ก็ต้องการให้ทุกคน ได้รู้เหมือน ๆ กับที่เรารู้ เพราะปัจจุบันเป็นโลกของการจัดการความรู้จริง ๆ อยู่ที่ใครจะอุทิศหรือสละเวลาให้กับประเทศชาติได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับจิตใต้สำนึกของการเป็นข้าราชการจริง ๆ ค่ะ ผู้เขียนเพียงอยากเห็นการพัฒนาของประเทศเป็นไปอย่างจริงจัง การพัฒนานั้น ต้องมาจาก “คน” ก่อน ในเมื่อคนมีการพัฒนาแล้ว ต่อ ๆ ไป ก็จะพัฒนาตามกันมาเองค่ะ…
อ่านเรื่อง “การบริหารจัดการความรู้ที่มีอยู่ในตัวคน” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… • หลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ตามแนวทาง สสวท. แจ้งพี่เลี้ยงเด็กพิการทุกคน ประชุมวันที่ 6 พฤศจิกายน 2561 เวลา 12.30 น. ประชุม Video Conference รายการ “พุธเช้า…ข่าวสพฐ.”
ยังเป็นขั้นอยู่ค่ะ…ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะนำมาแจ้งให้ทราบค่ะ… อย่าลืมเข้าไปดูในค่ำคืนนี้นะค่ะ…แล้วจะตกตะลึงในความมหัศจรรย์ค่ะ… คุณสมบัติให้ใช้ข้อใดข้อหนึ่งค่ะ เพราะมีคำว่าหรือ… เพราะจะทำให้คนที่ไม่รู้ ไม่ทราบ ได้รับรู้ รับทราบและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องค่ะ… ต้องขอของคุณสำหรับคำอวยพรนะค่ะ…เช่นเดียวกันค่ะ…
แท่งค่าจ้างของลูกจ้างประจำ (1 เม.ย.54) ยังไม่มีค่ะ…ถ้ามีแล้ว จะนำมาแจ้งให้ทราบค่ะ… ให้ดูค่าจ้างในแต่ละระดับนะค่ะ…ค่าจ้าง รัฐเปิดเพดานให้แล้วค่ะ… ลองศึกษาไฟล์ด้านล่างนี้ดูนะคะ และค่อย ๆ ศึกษาค่ะ จากบล็อกด้านบนเป็นเรื่องใหม่สุดค่ะ… ลองสอบถามไปที่ สพม.34 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ดูสิค่ะ ว่าเพราะเหตุดใด? ที่ยังไม่ได้รับ…เพราะเลยมา 4 เดือนแล้วนะค่ะ อย่างช้าก็ไม่น่าเกิน 2 เดือน…
ถ้าแม่คุณเข้าข่ายในคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในข้างต้น ก็สามารถปรับเพิ่มได้ แต่ถ้าปรับเป็นระดับ 2 แล้ว ฐานค่าจ้าง จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1-2 แต่แม่ยังต้องรับค่าจ้างในกลุ่ม 1 ก่อนจนเต็มเพดาน ถึงจะเปลี่ยนมาฐานค่าจ้างกลุ่มที่ 2 ได้ค่ะ… รับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับย้าย/โอน ข้าราชการ ให้ดำรงตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38ค. ประกาศองค์การบริหารส่วนตำบลรือเสาะ เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อสรรหาและเลือกสรรเพื่อบรรจุเป็นพนักงานจ้าง … ประกาศองค์การบริหารส่วนตำบลรือเสาะ เรื่อง บัญชีรายชื่อผู้ผ่านการสรรหาและการเลือกสรรบุคคลเพื่อเป็นพนักงานจ้า… • สำหรับเรื่องสิทธิประโยชน์ ค่ารักษาพยาบาล ค่าเช่าบ้าน ฯลฯ อยู่ในระหว่างที่กระทรวงการคลังตรวจสอบข้อมูลค่ะ…
สำหรับเงิน eight % น่าจะเป็นส่วนของข้าราชการครู ของ สพฐ.มากกว่ากระมังค่ะ เพราะข้าราชการพลเรือนสามัญ, ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ก็ได้เพียง 5 % เท่านั้นค่ะ เช่นเดียวกับลูกจ้างประจำ ไม่สามารถได้อีก 8 % แล้วค่ะ…เพราะตามมติ ครม. สำหรับพนักงานธุรการ คุณก็ต้องเคยได้ปฏิบัติงานสารบรรณมาพอสมควร เช่น สามารถร่างหนังสือโต้ตอบหนังสือราชการได้ การรับ – ส่ง หนังสือราชการ การเก็บรักษา การยืม การทำลายหนังสือในระดับหนึ่ง ให้ศึกษาคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานธุรการด้วยนะคะ… การที่จะเปลี่ยนตำแหน่งนั้น ขึ้นอยู่กับงานที่คุณได้ปฏิบัติ เช่น ถ้าเปลี่ยนเป็นพนักงานพิมพ์นั้น คุณก็ต้องพิมพ์คอมพิวเตอร์ได้ อีกอย่างก็ต้องไปดูที่คุณสมบัติของพนักงานพิมพ์ในแต่ละระดับว่าจะเปลี่ยนได้หรือไม่ค่ะ…เพราะเมื่อเปลี่ยนตำแหน่งไปแล้วจะมีผลตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานไงค่ะ ถ้าพิมพ์ไม่ได้ก็ไม่ควรเปลี่ยน แต่ถ้าพิมพ์ได้ก็จะเป็นไปตามคุณสมบัติของตำแหน่งค่ะ… ของข้าราชการเพิ่งจะประกาศในกฤษฎีกา ของลูกจ้างประจำคงต้องรอนะค่ะ เพราะพนักงานราชการก็ออกมาใช้แล้ว อาจไม่เกินเดือนเมษายน 2554 นี้หรอกค่ะ ถ้ามีจะรีบนำมาแจ้งให้ทราบนะค่ะ… ตอนนี้ผู้เขียนก็ให้งานราชภัฏวิจัยเรียบร้อยก่อนค่ะ จะตรวจสอบดูลูกจ้างภายใน มรพส. บ้างว่ามีท่านใดที่จะพอปรับเปลี่ยนตำแหน่งได้อีก…เพราะช่วงนี้งานเยอะจริง ๆ ค่ะ…
ไม่ว่าลูกจ้างประจำหรอกค่ะ ข้าราชการก็มีเยอะไป ที่เป็นเช่นคุณ ไม่ใช่คุณคนเดียวหรอก…แต่บอกแล้วไง ขึ้นอยู่กับหัวหน้าส่วนราชการ ถ้าเขามีจิตสำนึกที่ดี ไม่ลำเอียงจนเกินไป รักลูกน้องเท่ากันทุก ๆ คน…คงไม่มีปัญหามาถึงปัจจุบันหรอกค่ะ… ซึ่งคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในตำแหน่งช่างไม้ ระดับ 3 มีจำนวน 5 ข้อ ซึ่งแต่ละข้อใช้คำว่า หรือ คั่นในระหว่างข้อ ก็แสดงว่าถ้าเรามีคุณสมบัติเข้าเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ก็สามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้ค่ะ…แต่อย่าลืม ต้องมีคำสั่งที่เราได้ปฏิบัติเกี่ยวกับตำแหน่งของช่างไม้ นะค่ะ… เรื่อง แก้ไขการกำหนดกลุ่มพื้นที่การศึกษา ประจำเขตตรวจราชการ สังกัด สพฐ. เรื่องการกำหนดกลุ่มพื้นที่การศึกษา ประจำเขตตรวจราชการ สังกัด สพฐ. ที่ให้สอบถามไปยังกรมบัญชีกลาง เพื่อให้ได้คำตอบที่ชัดเจนค่ะ เพราะกรมบัญชีกลางจะตรวจสอบในเรื่องของการปรับเปลี่ยนตำแหน่งค่ะ ไม่อยากให้ทำแล้วเสียเวลาต้องมานั่งแก้ไขคำสั่งว่าไม่ได้ไงค่ะ…ทางกรมบัญชีกลางคงมีเหตุผลนะคะ อย่าเพิ่งด่วนสรุปความโดยที่ยังไม่ได้ฟังเหตุผลด้วยค่ะ…
การทำงานเกี่ยวกับบุคคล เป็นงานที่เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของบุคลากรของส่วนราชการ ทุกประเภทจะต้องมีความเทียมเทียมกันเพราะไม่เช่นนั้น ในอนาคตมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพียงแต่ผู้ใต้บังคับบัญชายังรู้กฎหมายไม่มาก ถ้าบางส่วนราชการไปพบเจอบุคคลที่เรียกว่า รู้กฎหมายมาก ๆ ถึงกับมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพราะในระดับ ม. ปัจจุบัน การเป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจำ มีหลากหลายสังกัดเหลือเกินค่ะ ไม่เหมือนสมัยก่อน การที่จะแจ้งอะไรให้ทราบก็ต้องให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนจึงจะนำมาแจ้งได้ค่ะ ขอบคุณล่วงหน้านะค่ะ… สำหรับลูกจ้างประจำนั้น การจ้างของรัฐก็ต้องดูในเรื่องการบรรจุในครั้งแรกค่ะว่า รัฐจ้างมาเป็นลูกจ้างประจำด้วยวุฒิการศึกษาใด ต่อมาเมื่อเรียนจบนั้น ก็ไม่ใช่หมายความว่า สามารถนำวุฒินั้นมาปรับให้ขั้นค่าจ้างสูงขึ้นได้เลย…อาจมีบางตำแหน่งที่ต้องใช้วุฒิที่สูงขึ้นได้ แต่บางตำแหน่งก็ไม่ใช่ต้องใช้วูมิสูงขึ้นนั้นหรอกค่ะ…
มีอีกวิธีหนึ่งค่ะ ให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลาง ดูนะค่ะ เพื่อเจ้าหน้าที่ของกรมบัญชีกลางจะได้ชี้แนะได้บ้างค่ะ…ได้ผลอย่างไร แจ้งให้พี่ทราบด้วยในกระทู้นี้นะค่ะ เพื่อบอกให้เพื่อน ๆ ได้ทราบข่าวความเคลื่อนไหวไงค่ะ… เรียนสอบถามว่าเงินเดือน เม.ย.54 นี้ ลูกจ้างประจำได้รับ 5% และ 13 % เหมือนข้าราชการหรือไม่ เพราะที่อ่านเจอไม่เห็นมีพูดถึงลูกจ้างประจำเลย มีแต่ครูเท่านั้น….. ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ผอ.สพป. ตลาดนัดอาเซียน ทร .๗๕ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ร่วมกับกลุ่มสาระส… คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของลูกจ้างประจำที่กระทรวงการคลังกำหนด ทุกกระทรวงใช้แนวทางเดียวกันหรือเปล่าคะ เช่น สพฐ. ไม่รู้ว่าของสาธารณสุข ทำกรอบไว้หรือค่ะ…เพราะของ ม.
สำหรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำในตอนนี้…เช่นการเปลี่ยตำแหน่ง เปลี่ยนระดับชั้นให้สูงขึ้น นั้น…เมื่อวานผู้เขียนได้คุยทางโทรศัพท์กับเจ้าหน้าที่ของกรมบัญชีกลาง ท่านแจ้งมาว่า ตามที่สำนักงาน ก.พ. ให้เปลี่ยนตำแหน่งได้นั้น…ขอให้ทุกท่านรอหนังสือจากกระทรวงการคลัง แจ้งมาให้ทราบเกี่ยวกับเรื่องวิธีการ หลักเกณฑ์ การเข้าสู่ตำแหน่งของลูกจ้างประจำก่อนนะค่ะ…ส่วนราชการต้องชะลอไปก่อน จนกว่าจะมีหนังสือจากกระทรวงการคลัง แจ้งมาให้ทราบอีกครั้งค่ะ… ก่อนอื่น ต้องขอทราบว่า คุณคือ ลูกจ้างประจำ ที่ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ.
ยินดีให้คำแนะนำค่ะ…นี่คือ หน้าที่ของข้าราชการค่ะ ถ้าเรารู้ เราควรให้คำแนะนำ…ไม่ว่าจะอยู่สังกัดใด ถ้าเราเป็นคนไทย ใช้ระเบียบปฏิบัติเดียวกัน ถ้ารู้ ควรเป็นที่ปรึกษาให้ได้ค่ะ… ผู้เขียนก็น้อมขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของเมืองพิษณุโลก เช่น พระพุทธชินราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ สมเด็จพระสุพรรณกัลยา ฯลฯ จงดลบันดาลให้คุณและครอบครัวพบแต่ความสุข สมหวังตลอดปี 2554 และตลอดไปด้วยค่ะ… แต่ถ้าปัจจุบันส่วนกลางมอบอำนาจมาให้ส่วนราชการดำเนินการเองแล้ว ก็ดำเนินการประกาศ ฯ แบบที่พี่บอกข้างต้นนั่นแหล่ะค่ะ… สำหรับการปรับเปลี่ยนกลุ่ม น่าจะรอให้เงินเดือนในกลุ่มเดิมเต็มขั้นก่อน แล้วจึงจะทำการปรับเปลี่ยนให้ค่ะ… การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่ง บุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.
สำหรับคนที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ เป็นผู้ที่ต้องการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง จะต้องทำอย่างไรนั้น…ผู้เขียนขอบอกว่าให้เตรียมตัว “อ่านหนังสืองานสารบรรณ หรือเรื่องที่ส่วนราชการต้องการสอบเพื่อคัดเลือกท่าน” เท่านั้นเองค่ะ…สอบให้ผ่านตามที่ผู้เขียนบอกข้างต้นค่ะ… ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. ปัจจุบันตำแหน่งนักการภารโรง ในส่วนราชการอื่น ๆ เขาก็ปรับเป็นตำแหน่งอื่นกันแล้ว เช่น เดิมตำแหน่งนักการภารโรง ถ้าทำงานธุรการของโรงเรียนได้ ส่วนราชการก็จะปรับให้เป็นพนักงานธุรการ หรือถ้าพิมพ์คอมฯ ได้ ก็จะปรับให้เป็นพนักงานพิมพ์ ฯลฯ กันค่ะ เพราะตำแหน่งดังกล่าวจะสามารถปรับเลื่อนระดับเป็นระดับ 1, 2 ,3 หรือ four กันได้ ซึ่งทำให้มีการเพิ่มขั้นค่าจ้างกันด้วยไงค่ะ… การเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ เป็นช่างไฟฟ้า ให้ดูที่ความประสงค์ของส่วนราชการด้วยนะคะว่า หน้าที่หลักที่ให้คุณได้ปฏิบัติปัจจุบันคือ ตำแหน่งใด และส่วนราชการต้องการให้คุณปฏิบัติงานอะไรส่วนใหญ่…การเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ให้ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่ด้วยค่ะว่าสำนักงาน ก.พ.
จากข้อ 2 สามารถทำเรื่องไปที่ กลุ่มงานบุคคลของ สพท. ก่อนนะค่ะ…เพราะเขาเป็นส่วนราชการที่ต้องดูแลกลุ่มลูกจ้างประจำอยู่…ปรึกษาเขาก่อนก็ได้ว่าเรามีคุณสมบัติครบ และเพื่อความก้าวหน้าของเราเอง…(เขาจะทำเรื่องไปที่ สพฐ. แล้ว สพฐ.จะนำเรื่องคุณเสนอให้ สำนักงาน ก.พ. เองค่ะ)… ถ้าจะไปอยู่กลุ่มที่ 2 ได้ คุณต้องมีการปรับเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ three ก่อนค่ะ อาจโดยการสอบคัดเลือก ซึ่งส่วนราชการจะเป็นผู้จัดสอบเกณฑ์ต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานพิมพ์ ระดับ three นะค่ะ…เมื่อสอบได้และได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ 3 แล้ว จึงจะสามารถไปยังกลุ่มที่ 2 ได้ค่ะ…(ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.พ. กำหนดค่ะ)…
คุณตำแหน่งพนักงานพิมพ์ ระดับ 3 เมื่อเทียบกลุ่มค่าจ้างอยู่ที่ ถ้าปัจจุบันค่าจ้างของคุณยังไม่เต็มเพดานขั้นสูงของระดับ 1 คุณก็รับขั้นค่าจ้างระดับ 1 ไปจนเต็มเพดาน กลุ่มที่ 1 แล้ว จึงจะปรับไปเป็น ขั้นค่าจ้างในกลุ่มที่ 2 ค่ะ… ลองสอบถามหัวหน้าส่วนราชการดูนะค่ะ ว่าใช่หรือไม่ ถ้าใช่ แล้วถามว่า ตำแหน่งของคุณสามารถปรับเปลี่ยนได้หรือไม่ หรือศึกษาในกระทู้ที่พวกเพื่อน ๆ ได้ถามมาก็ได้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… เป็นการขยายกลุ่มบัญชีค่าจ้างให้ แต่เงินค่าจ้างก็ไปรับที่กลุ่ม 1 จนเต็มเพดานค่ะ ถึงจะปรับเปลี่ยนไปที่กลุ่ม 2 เพราะผู้เขียนได้สอบถามที่กรมบัญชีกลางให้แล้วค่ะ…
แต่ในความคิดเห็นของผู้เขียนที่เคยผ่าน ๆ มา การนับเวลาทวีคูณ เขาจะนับให้ตอนเกษียณอายุราชการเท่านั้น สำหรับการขอปรับระดับชั้นงานนั้น ไม่นับค่ะ ให้นับในเวลาปกตินี้เท่านั้นค่ะ… นะค่ะ…เพราะเข้าเกณฑ์ในข้อ four ก็สามารถปรับได้ค่ะ แต่งานที่ทำอยู่ต้องเป็นงานธุรการนะค่ะ…ไม่ใช่เป็นพนักงานพิมพ์อย่างเดียว… เวลาจะขอปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ขอให้ดูให้ดี ๆ นะค่ะ ว่าตำแหน่งใหม่ที่จะขอปรับเปลี่ยนนั้น ชื่อเต็ม ที่ถูกต้องของตำแหน่งนั้น คือ ตำแหน่งใด เพราะถ้าพิมพ์ผิดจะทำให้เกิดการสับสนและความวุ่นวายจะตามมาค่ะ… ให้คุณดูที่รหัส 2101 คือ ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ระดับ three ตามไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ…
ต้องทำการชี้แจงให้ลูกจ้างประจำรับทราบค่ะว่าจะให้ดำเนินการอย่างไร… เมื่อประกาศผลสอบได้ ก็เรียกบรรจุตามกระบวนการในการสอบคัดเลือกค่ะ…และก็ออกคำสั่งการปรับเปลี่ยนตำแหน่งให้ค่ะ แต่ควรประสานงานกับ ก.พ. + กรมบัญชีกลางด้วยนะค่ะ…อาจเป็นการส่งคำสั่งให้ทราบค่ะ… การประกาศของส่วนราชการในการขอปรับเปลี่ยนตำแหน่งจากพนักงานธุรการ 1 เป็น 2 หรือ three หรือ 4 เพราะเหตุที่ทำต้องแจ้งให้บุคลากรในสังกัดเราทราบว่ามีท่านใดที่จะประสงค์ปรับเปลี่ยน เพราะบางส่วนราชการจะมีเจ้าหน้าที่ตำแหน่งดังกล่าวหลายคนค่ะ… ขอเรียนถามว่าในกรณีที่เป็นพนักงานขัยรถยนต์ ขั้นเงินเดือนตอนนี้อยู่ในกลุ่ม 1 เมื่อตันเงินเดือนจะเลื่อนไปขั้น 2 เลยหรือไม่ หรือต้องมีการสอบประเมินอีกหรือเปล่า รบกวนหน่อยนะค่ะ….. สำหรับคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งกระทรวงการคลังจะเป็นผู้กำหนดค่ะ…ทางกระทรวงการคลังคงจะมีเหตุผลในการปรับนะค่ะ…การปรับชั้น three เป็น four ในตำแหน่งพนักงานพิมพ์นั้น ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงาน ก.พ.
ดูผลของการทำงานของลูกน้องค่ะ…เลยมีความสบายใจ และเป็นเสียงให้กับบุคลากรใน ม. ว่า ให้เน้นการทำงานเป็นหลัก…คุณโชคไม่ดีจังที่หัวหน้าไม่มองถึงผลงาน…แต่ก็ขอเป็นกำลังใจให้นะค่ะว่า ในเมื่อเราทำดีมาตลอด ขอให้ทำความดีนั้นต่อค่ะ…สักวันคงเป็นผลที่เกิดจากการกระทำของเราบ้าง…ใครจะได้อย่างไรก็ช่างเขาเถอะค่ะ…ฟ้ามีตาค่ะ เชื่อในกฎแห่งกรรมบ้างหรือไม่? ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0428/ว forty six ลงวันที่ 6 พ.ค.2554 จะหมายถึงการปรับอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ซึ่งถ้าเป็นสมัยก่อนจะไม่ปัญหาสำหรับการแจ้งว่า คือ ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ต่อมาเมื่อมี อบต.
ขอบคุณมากๆๆ เลยค่ะสำหรับคำตอบที่ช่วยคลายความสงสัยคะ… งานสารบรรณ ยังใช้ของปี 2526 และเพิ่มเติมฉบับที่ 5 พ.ศ. สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนต้องการมอบให้ พวกเราทุกคนค่ะ เลยมาชวนไปดูค่ะ…